วันพฤหัสบดีที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2555

Jintala poonlarp (Numtaw sao wah rin)

179391_106001932808725_100001967561388_40724_4239553_n
MusicPlaylistView Profile
Create a MySpace Playlist at MixPod.com
จินตหรา พูนลาภ เป็นนักร้องลูกทุ่งหญิงสไตล์อีสาน แนวหมอลำ มีผลงานเป็นที่รู้จักมากมาย ได้รับสมญานามว่า "นักร้องสาวเสียงพิณ" ,"แหบเสน่ห์" และ "ลูกคอ 9 ชั้น" พร้อมเอกลักษณ์ประจำตัวคือ ผมม้าสั้น
ชื่อจริง "จินตหรา จันทร์เหลือง" เกิดวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2512 [1] บ้านจานทุ่ง ต.สิงห์โคก อ.เกษตรวิสัย จ.ร้อยเอ็ด เป็นลูกคนที่ 4 จากทั้งหมด 5 คนของครอบครัวที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เริ่มร้องเพลงตั้งแต่ยังเด็ก หลังจากชนะการประกวดร้องเพลงที่ จ. ขอนแก่น ได้รับการชักชวนจาก "เฮียยิ้ง" ชาย สีบัวเลิศ นักจัดรายการ เพื่อเข้าเป็นนักร้องบันทึกเสียงกับค่ายแกรมมี่ และทำการตลาดโดยจีเอ็มเอ็ม
ผลงานเพลงชุดแรกที่บันทึกเสียงคือ "ถูกหลอกออกโรงเรียน" สังกัดค่ายแกรมมี่ ประสบความสำเร็จด้วยเพลง "วานเพื่อนเขียนจดหมาย" ทำยอดขายได้ 8 แสนชุด งานเพลงในยุคแรกเป็นแบบลูกทุ่งภาคกลาง และลูกทุ่งอีสาน แต่หลังจากมีผลงาน 4 ชุด ได้เริ่มออกผลงานแนวหมอลำ หลังชุดที่ 16 ชาย สีบัวเลิศ ผู้ปั้นจินตหรา พูนลาภให้โด่งดัง ได้แยกตัวออกจากค่ายแกรมมี่ มาเปิดเป็นค่ายมาสเตอร์เทป โดยได้จินตหรา พูนลาภเป็นศิลปินเบอร์หนึ่งของค่าย จินตหรา พูนลาภได้รับความนิยมอย่างสูงสุดในการร่วมงานกับเบิร์ด ธงไชย ในเพลง "แฟนจ๋า" และ "มาทำไม" และในปี พ.ศ. 2547 ได้ร่วมแสดงบนเวทีเอ็มทีวี เอเชีย อวอร์ดส ที่สิงคโปร์ กับธงไชย แมคอินไตย์ แคทรียา อิงลิช และนัท มีเรีย[2] ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2550 จินตหรา พูนลาภ ได้เซ็นสัญญากับค่ายใหม่อาร์สยาม ในสังกัดอาร์เอส หลังจากที่ค่ายเดิมคือมาสเตอร์เทปปิดตัวลง
ปัจจุบันสมรสแล้วกับ “นายกอบกิตติ กวีสุนทรกุล” หรือ "จังโก้" นักประพันธ์เพลงสังกัดค่ายเพลงพันธมิตร และผู้จัดการวงจินตหรา พูนลาภ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ในปี 2550

ผลงานเพลง

-- ชุดที่ * คิดถึงพี่ยาว (คิดถึงพี่ยาว, ชีวิตจินตหรา, ,...)

ผลงานเพลงใหม่

-- ฝากคำขอโทษ, ชีวิตฉันขาดเธอไม่ได้, ใจฉันยังมีเธอ

[แก้] ค่ายแกรมมี่

  • ชุดที่ 1 ถูกหลอกออกโรงเรียน (ถูกหลอกออกโรงเรียน, เดือนละครั้งยังดี, ผัวขับรถเมียบดแป้ง,...)
  • ชุดที่ 2 วานเพื่อนเขียนจดหมาย (วานเพื่อนเขียนจดหมาย, ส่งใจไปร่มเกล้า, สิทธิ์หนูอยู่ที่แม่,...)
  • ชุดที่ 3 โสดบริสุทธิ์ (โสดบริสุทธิ์, บวชเสียก่อนพี่,...)
  • ชุดที่ 4 สาวเวียง หนุ่มไทย (สาวเวียง หนุ่มไทย, ตามแฟน,...)
  • ชุดที่ 5 แรงงานข้าวเหนียว (ผู้บ่าวลืมเกิบ, แรงงานข้าวเหนียว, สาวอีสานเสี่ยงดวง,...)
  • ชุดที่ 6 พลังรัก (พลังรัก, อดีตรักบุญบั้งไฟ, สาวไทยรำพัน, อยากเอ่ยคำว่ารัก,...)
  • ชุดที่ 7 ตามใจน้ำตา (ตามใจน้ำตา, อวยพรให้แฟน,...)
  • ชุดที่ 8 สาวไร่มัน (สาวหนองคาย, สาวไร่มัน,...)
  • ชุดที่ 9 สาวอีสานพลัดถิ่น (สาวอีสานพลัดถิ่น, ลำล่องเฮือนสามน้ำสี่, ลำล่องฝากใจกับเสียงลำ,...)
  • ชุดที่ 10 ขอเป็นคนสุดท้าย (วันนี้เขาแต่งแน่, ขอเป็นคนสุดท้าย,...)
  • ชุดที่ 11 จดหมายหลายฉบับ (จดหมายหลายฉบับ, มันมีเท่านี้, ติดป้ายขายบ้าน,...)
  • ชุดที่ 12 อำนาจรัก (อำนาจรัก, บัวไร้บึง,...)
  • ชุดที่ 13 คอยรักต่างแดน (คอยรักต่างแดน, สาวติ๋มคอยรัก, สาวสวนผักรักเศร้า,...)
  • ชุดที่ 14 ลำ 3 แบบ 3 สไตล์ (หัวใจออนซอน, หลังเหตุเกิด, เอาไปเลยหัวใจ,...)
  • ชุดที่ 15 ไร่อ้อยคอยแฟน (ไร่อ้อยคอยแฟน, ใจอ้ายคล้ายนาฬิกา, ใจหายที่ชายหาด,...)
  • ชุดที่ 16 เจ้าบ่าวหาย (เจ้าบ่าวหาย, ภาพรักภาพหลอน, พี่จ๋าเจ็บตรงไหน, ต้นส้มมอรออ้าย,...)

[แก้] ค่ายมาสเตอร์เทป

  • ชุดที่ 17 สิ้นหวังที่วังตะไคร้ (สิ้นหวังที่วังตะไคร้, ลูกจ้างถางอ้อย, กลับบ้านเถิดอ้าย,...)
  • ชุดที่ 18 สงสารหัวใจ (สงสารหัวใจ, ผัวใครเทห์จัง, สุสานคนเศร้า,...)
  • ชุดที่ 19 อวยพรให้เพื่อน (อวยพรให้เพื่อน, แอบรักหนุ่มยาม, เสียงสะอื้นจากคนอกหัก,...)
  • ชุดที่ 20 ขอรักฝ่ายเดียว (ขอรักฝ่ายเดียว, คอยคนสีซอ, อ้อนพ่อซื้อมอเตอร์ไซค์,...)
  • ชุดที่ 21 รักซ้อนรัก (คอยพี่ที่มออีแดง, รักซ้อนรัก, รักลาเหมือนปลาขาดน้ำ,...)
  • ชุดที่ 22 รอพี่ที่ บ.ข.ส. (รอพี่ที่ บ.ข.ส., อ้อมแขน, แฟนเพลงผู้อาภัพ, จินตหราส่งใจ,...)
  • ชุดที่ 23 ดื่มเพื่อลืมเศร้า (ดื่มเพื่อลืมเศร้า, ทำใจไม่ได้, คิดถึงตลอดเวลา,...)
  • ชุดที่ 24 รักโผล่โสนแย้ม (รักโผล่โสนแย้ม, รักพังวังสามหมอ, นอนคอยที่บางแค, โดนหลอกก่อนออกพรรษา,...)
  • ชุดที่ 25 ผู้หนีช้ำ (ผู้หนีช้ำ, ห่วงพี่ที่คูเวต, สาวคาเฟ่ระทม, ฝนนองน้องเศร้า,...)
  • หมอลำสะออน ชุดที่ 1 รักสลายดอกฝ้ายบาน (รักสลายดอกฝ้ายบาน, ยืนเศร้าบนเขาพนมรุ้ง, สายตาเจ้าชู้, รักพี่กลัวหนี้สหกรณ์,...)
  • ลูกทุ่งสะออน ชุดที่ 2 น้ำตาสาววาริน (น้ำตาสาววาริน, กางเกงยีนส์แห่งความหลัง, รักเรามีกรรม, ลำดวนตำใจ,...)
  • หมอลำสะออน ชุดที่ 3 น้ำตาหล่นบนเถียงนา (น้ำตาหล่นบนเถียงนา, เหงาใจในต่างแดน, รักร้าวที่บึงพลาญ, นกตูมร้องน้องสะอื้น,...)
  • ลูกทุ่งสะออน ชุดที่ 4 สาวน้ำพองสะอื้น (สาวน้ำพองสะอื้น, ขอเพียงแค่สงสาร, เจ็บแล้วพอแล้ว, รักคนหล่อขอบอก,...)
  • หมอลำสะออน ชุดที่ 5 แตงโมจินตหรา (แตงโมจินตหรา, น้ำตาหยาดข้างพระธาตุนาดูน, รักเหนือแผ่นดิน, เสน่ห์พ่อหม้าย,...)
  • ลูกทุ่งสะออน ชุดที่ 6 ถ้วยป่นหลุดมือ (ถ้วยป่นหลุดมือ, อาลัยเวิร์ลเทรด, พี่จ๋ากล้าๆหน่อย, สายเดี่ยวเปลี่ยวใจ,...)
  • หมอลำสะออน ชุดที่ 7 นัดรอบ่พ้ออ้าย (นัดรอบ่พ้ออ้าย, แอบรักคุณหมอ, สัญญาจางส่างเมา, ให้ตายซิโรบิน,...)
  • จินมาแล้วจ้า ชุดที่ 1 ซังบ่าวเจ้าชู้ (ซังบ่าวเจ้าชู้, ซิลองเบิ่ง, เขามีแฟนใหม่, แท็กซี่เมียเผลอ,...)
  • หมอลำสะออน ชุดที่ 8 รูปหล่อหลายเมีย (รูปหล่อหลายเมีย, มีเจ้าของแต่น้องรัก, สมน้ำหน้าตัวเอง, ผิดไหมที่ใจเดียว,...)
  • ลูกทุ่งสะออน ชุดที่ 9 สาวชุมแพแพ้รัก (สาวชุมแพแพ้รัก, คิดฮอดอ้ายแท้ๆแน่ว, คอยรักจากเยอรมัน, คิดฮอดตลอดเวลา,...)
  • หมอลำสะออน ชุดที่ 10 พญานาคฝากรัก (ผู้บ่าวเปลี่ยนไป, พญานาคฝากรัก, ฝันรักฝันร้าย, ลำเพลินเจริญใจ,...)
  • ลูกทุ่งสะออน ชุดที่ 11 คนนำทางใจ (คนนำทางใจ, อยากมีคนคุ้มครอง, สึนามิ, ขโมยกอด,...)
  • หมอลำสะออน ชุดที่ 12 ฮัลโหลโทรผิด (ฮัลโหลโทรผิด, ไฉไล, สัญญาที่นาดูน, อยากให้เว้าหยอก,...)
  • หมอลำสะออน ชุดที่ 13 ห่วงแฟนแดนชุมนุม (ห่วงแฟนแดนชุมนุม, บอกรักผ่านดีเจ, ผ้าป่าน้ำตาซึม, ห่วงแม่ยามไกลบ้าน,...)
  • ชุด สาวทุ่งดอกจาน (สาวทุ่งดอกจาน, สมชาย 2007, ผู้หญิงลืมยาก, หลงบูชาน้ำตาอ้าย,...)

[แก้] ค่ายอาร์สยาม (พ.ศ. 2550-ปัจจุบัน)

  • จินตหราครบเครื่อง ชุดที่ 1 (วางแผง: 29 พฤศจิกายน 2550) จินตหราแอ๊บแบ๊ว, ธนาคารน้ำตา, น้ำตาไหลใส่มือถือ, บ่เหลือหยังให้หวังแล้ว,...
  • จินตหราครบเครื่อง ชุดที่ 2 (วางแผง: ) อยู่ข้างเธอเสมอ, กิ๊กทางใจ, เขามาในฐานะอะไร, บุญมหาชาติขาดรัก,...
  • จินตหราครบเครื่อง ชุดที่ 3 (วางแผง: 29 มกราคม 2552) มิสซิสเหี่ยน, ม๊อบสีชมพู, บ๊ายบาย, ผู้บ่าวเมืองเลย,...
  • จินตหราครบเครื่อง ชุดที่ 4 (วางแผง: 11 กุมภาพันธ์ 2553) ชีวิตฉันขาดเธอไม่ได้, จุ๊อ้า จุ๊อา, บั้งไฟโก้ยโสธร, สาวอุดรนอนกรุง,...
  • จินตหราครบเครื่อง ชุดที่ 5 (วางแผง:16 ธันวาคม 2553) ฝากคำขอโทษ , เสริมสวยป่วยใจ,. ตำแหน่งที่ไม่ต้องการ, สาวบิกซี,ไม่เคยตายไปจากใจ
  • จินตหราครบเครื่อง ชุดที่ 6 ทางบริษัท จะข้ามชุดนี้ไป ข้ามไปเป้นชุดที่ 7
  • จินตหราครบเครื่อง ชุดที่ 7 วางแผง เดือนตุลาคม 54 ตามสัญญา จากอาร์สยาม ( r-saim )

[แก้] ผลงานเพลงอื่นๆ

--ร่วมร้องเพลง ในพิธีการแข่งขันกีฬาเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่13 ที่ประเทศไทยและกรุงเทพมหานครเป็นเจ้าภาพ สมัยอัลบั้ม รักสลายดอกฝ้ายบาน
-- ร่วมงานกับ เบิร์ด ธงไชย แมคอินไตย์ ในเพลง "แฟนจ๋า" และ "มาทำไม" ในอัลบั้ม ชุดรับแขก และเพลง "ซ่อมได้"(เวอร์ชันหมอลำ) ในอัลบั้ม แฟนจ๋า...สนิทกันแล้วจ้ะ
-- เพลง ใจฉันยังมีเธอ เป็นเพลงเปิดตัวกับค่ายใหม่ สังกัดอาร์สยาม ในเครืออาร์เอส เพลงนี้ไม่ได้ถูกบรรจุไว้ในอัลบั้มเดี่ยว
--ร่วมร้องเพลง คนไทยรวมใจเลือกตั้ง ร่วมกับ กุ้ง สุทธิราช บ่าววี และกระแต
--ร่วมร้องเพลง ขวานไทยใจหนึ่งเดียว เพื่อปลูกจิตสำนึกสามัคคีในชาติ แต่งโดย ยืนยง โอภากุล ร่วมร้องกับ ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตน ราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี และศิลปินอื่นกว่า 40ชีวิต
- - เพลงชีวิตฉันขาดเธอไม่ได้ ถูกใจแฟนเพลงอย่างรวดเร็ว และมียอดดาวน์โหลดขึ้นอันดับต้นๆ ทุกเครือข่าย ก่อนอัลบั้มเต็มจะวางแผง สำหรับเพลง "ชีวิตฉันขาดเธอไม่ได้" และยังติดชาร์ตคลื่นวิทยุอันดับที่1 มากกว่า 10 สัปดาห์ของFm 95.00 MHz ลูกทุ่งมหานคร และวิทยุทั่วประเทศ
เพลงลูกเป็ดขี้เหร่ เพลงประกอบละครกำนันอิ๊ด ที่เป็นที่ชื่นชอบของชาวแฟนคลับ เคยเปิดกระหน่ำบน เจทีอาเวป วิทยุจินตหราแฟนคลับ ไม่ได้ถูกบรรจุลงอัลบั๊มไหน เพื่อจำหน่าย แต่เคยถูกเปิดออนแอร์ในตอนอวสานของละครกำนันอิ๊ด


[แก้] ผลงานเพลงดัง



ถูกหลอกออกโรงเรียน - วานเพื่อนเขียนจดหมาย - แรงงานข้าวเหนียว - พลังรัก - คอยรักต่างแดน - ไร่อ้อยคอยรัก - เจ้าบ่าวหาย - คอยพี่ที่มออีแดง - รอพี่ที่ บ.ข.ส. - รักโผล่โสนแย้ม - ห่วงพี่ที่คูเวต - รักสลายดอกฝ้ายบาน - น้ำตาสาววาริน - เหงาใจในต่างแดน - แตงโมจินตหรา - แฟนจ๋า+มาทำไม (ร้องคู่พี่เบิร์ด ธงไชย) - จินตหราแอ๊บแบ๊ว - มิสซิสเหี่ยน - ชีวิตฉันขาดเธอไม่ได้ และล่าสุด ฝากคำขอโทษ


วันอาทิตย์ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2554

ประวัติ อังคนาง คุณไชยและผลงานเพลง

ประวัติ อังคนาง คุณไชย

artist02

ชื่อจริง ทองนาง คุณไชย

พี่น้อง 7 คน (เป็นคนสุดท้อง)

ภูมิลำเนา จังหวัด อำนาจเจริญ

สถานะภาพ สมรสกับนายอำนวย ศิริมณี

การศึกษา ป. 4

ก่อนเข้าสู่วงการหมอลำ เด็กหญิงทองนาง จบการศึกษาชั้นป.4 และไม่ได้เรียนต่อเนื่องจากฐานะทางบ้าน ยากจน ในวัยเด็กชอบฟังเพลง และร้องเพลงลูกทุ่ง หมอลำ เมื่อมีโอกาสทุกครั้งจะไปร้องเพลงที่ทางโรงเรียนจัดในหมู่บ้านทุกครั้ง ซึ่งจะได้คำชม และรางวัลบ้าง โดยมีคุณพ่อ เป็นผู้สนับสนุนในการร้องเพลง เมื่อพ่อเข้าในเมืองเพื่อไป ขายสินค้าเมื่อไร ก็จะซื้อตำราเรียนหมอลำมาฝากเสมอ จนวันหนึ่งพ่อได้มาไปฝาก ฝึกเรียนหมอลำกับสำนักงานหมอลำของ อ.ทองลือ แสนทวีสุข และ อ.ฉวีวรรณ ดำเนิน (ศิลปินแห่งชาติ ปี 2536) เรียนอยู่ประมาณ 2 ปี และในปี 2514 อ.อุไร สง่าจิตร หัวหน้าคณะอุบลพัฒนา เห็นว่ามีบทบาทการแสดงที่ดีประกอบกับมีสุ้มเสียงที่ไพเราะ จึงได้ให้เริ่มแสดงเป็นตัวประกอบก่อน และค่อยๆ พัฒนามาเป็นตัวนำนางเอกของเรื่อง


และได้แสดงเป็นนางเอกเรื่องแรก คือลำเรื่องต่อกลอนเรื่อง นางนกกระยางขาว ซึ่งได้รับการตอบรับจากแฟนหมอลำ ทางภาคอีสานและภาคอื่นเป็นอย่างมาก จนมีผลงานออกมาต่อเนื่องเรื่อยมา จนในปี 2517 จุดเปลี่ยนของอังคนางค์ คุณไชย น่าจะอยู่ที่อัลบั้มเพลง สาวอุบลรอรัก และเพลง พี่จ๋าหลับตาไว้ ที่ทำให้มีกลุ่มแฟนเพลงขยายออก อย่างกว้างขวาง จนเรียกได้ว่าเป็นเพลงแจ้งเกิดในวงการเพลงลูกทุ่งหมอ ลำ และในปี 2521 ได้ออกจากคณะอุบลพัฒนา มาตั้งคณะเป็นของตัวเอง ชื่อคณะเมืองดอกบัว แต่ไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร เนื่องจากต้องลงทุนมาก และดูแลลูกน้องเกือบ 200 กว่าชีวิต ในปี 2524 จึงตัดสินใจยุบคณะ และไปรวมกับคณะหมอลำเรื่องต่อกลอน คณะเพชรอุบล ของ ป.ฉลาดน้อย ส่งเสริม ทำให้เป็นมีชื่อเสียง และเป็นคู่ขวัญกันจนเรียกได้ว่าถ้าผิดจากคู่นี้ ไปคู่กับคนอื่นๆ ก็จะได้รับการต้อนรับที่น้อยมาก ระหว่างนั้นก็มีการออกอัลบั้มกับค่ายเพลงต่างๆ หลายๆ ค่าย ในสไตล์ลูกทุ่ง-หมอลำ ลำเพลิน ลำเต้ย ลำล่อง หรือการแสดงลำเรื่องต่อกลอนต่างๆ เรื่อยมา และผลงานเพลงสร้างชื่อให้กับอังคนางค์ คุณไชย มีอยู่หลายบทเพลง เช่น เพลงบ่าวภูไท , อีสานลำเพลิน , เสียงพิณบาดใจ , มีบ้างไหมรักจริง ฯลฯ ตลอดระยะเวลากว่า 30 ปี ที่ทำงานมา อังคนางค์ คุณไชย ได้ตั้งปณิธานว่าจะอุทิศชีวิตเพื่อสร้างสรรค์ผลงานการแสดงศิลปะพื้นบ้านลูกทุ่งหมอลำ ให้ไว้เป็นมรดก ทางวัฒนธรรมการแสดงพื้นบ้านให้กับประชาชน และอนุชนรุ่นหลังสืบไปโดยมีโครงการจะเปิดเป็นโรงเรียนสอนการแสดงหมอลำพื้นบ้าน สำหรับ เยาวชนรุ่นลูก รุ่นหลาน ที่มีใจรักในการแสดง และการร้องหมอลำในจังหวัดที่ตนเองอยู่

และได้แสดงเป็นนางเอกเรื่องแรก คือลำเรื่องต่อกลอนเรื่อง นางนกกระยางขาว ซึ่งได้รับการตอบรับจากแฟนหมอลำ ทางภาคอีสานและภาคอื่นเป็นอย่างมาก จนมีผลงานออกมาต่อเนื่องเรื่อยมา จนในปี 2517 จุดเปลี่ยนของอังคนางค์ คุณไชย น่าจะอยู่ที่อัลบั้มเพลง สาวอุบลรอรัก และเพลง พี่จ๋าหลับตาไว้ ที่ทำให้มีกลุ่มแฟนเพลงขยายออก อย่างกว้างขวาง จนเรียกได้ว่าเป็นเพลงแจ้งเกิดในวงการเพลงลูกทุ่งหมอ ลำ และในปี 2521 ได้ออกจากคณะอุบลพัฒนา มาตั้งคณะเป็นของตัวเอง ชื่อคณะเมืองดอกบัว แต่ไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร เนื่องจากต้องลงทุนมาก และดูแลลูกน้องเกือบ 200 กว่าชีวิต ในปี 2524 จึงตัดสินใจยุบคณะ และไปรวมกับคณะหมอลำเรื่องต่อกลอน คณะเพชรอุบล ของ ป.ฉลาดน้อย ส่งเสริม ทำให้เป็นมีชื่อเสียง และเป็นคู่ขวัญกันจนเรียกได้ว่าถ้าผิดจากคู่นี้ ไปคู่กับคนอื่นๆ ก็จะได้รับการต้อนรับที่น้อยมาก ระหว่างนั้นก็มีการออกอัลบั้มกับค่ายเพลงต่างๆ หลายๆ ค่าย ในสไตล์ลูกทุ่ง-หมอลำ ลำเพลิน ลำเต้ย ลำล่อง หรือการแสดงลำเรื่องต่อกลอนต่างๆ เรื่อยมา และผลงานเพลงสร้างชื่อให้กับอังคนางค์ คุณไชย มีอยู่หลายบทเพลง เช่น เพลงบ่าวภูไท , อีสานลำเพลิน , เสียงพิณบาดใจ , มีบ้างไหมรักจริง ฯลฯ ตลอดระยะเวลากว่า 30 ปี ที่ทำงานมา อังคนางค์ คุณไชย ได้ตั้งปณิธานว่าจะอุทิศชีวิตเพื่อสร้างสรรค์ผลงานการแสดงศิลปะพื้นบ้านลูกทุ่งหมอลำ ให้ไว้เป็นมรดก ทางวัฒนธรรมการแสดงพื้นบ้านให้กับประชาชน และอนุชนรุ่นหลังสืบไปโดยมีโครงการจะเปิดเป็นโรงเรียนสอนการแสดงหมอลำพื้นบ้าน สำหรับ เยาวชนรุ่นลูก รุ่นหลาน ที่มีใจรักในการแสดง และการร้องหมอลำในจังหวัดที่ตนเองอยู่ และได้แสดงเป็นนางเอกเรื่องแรก คือลำเรื่องต่อกลอนเรื่อง นางนกกระยางขาว ซึ่งได้รับการตอบรับจากแฟนหมอลำ ทางภาคอีสานและภาคอื่นเป็นอย่างมาก จนมีผลงานออกมาต่อเนื่องเรื่อยมา จนในปี 2517 จุดเปลี่ยนของอังคนางค์ คุณไชย น่าจะอยู่ที่อัลบั้มเพลง สาวอุบลรอรัก และเพลง พี่จ๋าหลับตาไว้ ที่ทำให้มีกลุ่มแฟนเพลงขยายออก อย่างกว้างขวาง จนเรียกได้ว่าเป็นเพลงแจ้งเกิดในวงการเพลงลูกทุ่งหมอ ลำ และในปี 2521 ได้ออกจากคณะอุบลพัฒนา มาตั้งคณะเป็นของตัวเอง ชื่อคณะเมืองดอกบัว แต่ไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร เนื่องจากต้องลงทุนมาก และดูแลลูกน้องเกือบ 200 กว่าชีวิต ในปี 2524 จึงตัดสินใจยุบคณะ และไปรวมกับคณะหมอลำเรื่องต่อกลอน คณะเพชรอุบล ของ ป.ฉลาดน้อย ส่งเสริม ทำให้เป็นมีชื่อเสียง และเป็นคู่ขวัญกันจนเรียกได้ว่าถ้าผิดจากคู่นี้ ไปคู่กับคนอื่นๆ ก็จะได้รับการต้อนรับที่น้อยมาก ระหว่างนั้นก็มีการออกอัลบั้มกับค่ายเพลงต่างๆ หลายๆ ค่าย ในสไตล์ลูกทุ่ง-หมอลำ ลำเพลิน ลำเต้ย ลำล่อง หรือการแสดงลำเรื่องต่อกลอนต่างๆ เรื่อยมา และผลงานเพลงสร้างชื่อให้กับอังคนางค์ คุณไชย มีอยู่หลายบทเพลง เช่น เพลงบ่าวภูไท , อีสานลำเพลิน , เสียงพิณบาดใจ , มีบ้างไหมรักจริง ฯลฯ ตลอดระยะเวลากว่า 30 ปี ที่ทำงานมา อังคนางค์ คุณไชย ได้ตั้งปณิธานว่าจะอุทิศชีวิตเพื่อสร้างสรรค์ผลงานการแสดงศิลปะพื้นบ้านลูกทุ่งหมอลำ ให้ไว้เป็นมรดก ทางวัฒนธรรมการแสดงพื้นบ้านให้กับประชาชน และอนุชนรุ่นหลังสืบไปโดยมีโครงการจะเปิดเป็นโรงเรียนสอนการแสดงหมอลำพื้นบ้าน สำหรับ เยาวชนรุ่นลูก รุ่นหลาน ที่มีใจรักในการแสดง และการร้องหมอลำในจังหวัดที่ตนเองอยู่
และได้แสดงเป็นนางเอกเรื่องแรก คือลำเรื่องต่อกลอนเรื่อง นางนกกระยางขาว ซึ่งได้รับการตอบรับจากแฟนหมอลำ ทางภาคอีสานและภาคอื่นเป็นอย่างมาก จนมีผลงานออกมาต่อเนื่องเรื่อยมา จนในปี 2517 จุดเปลี่ยนของอังคนางค์ คุณไชย น่าจะอยู่ที่อัลบั้มเพลง สาวอุบลรอรัก และเพลง พี่จ๋าหลับตาไว้ ที่ทำให้มีกลุ่มแฟนเพลงขยายออก อย่างกว้างขวาง จนเรียกได้ว่าเป็นเพลงแจ้งเกิดในวงการเพลงลูกทุ่งหมอ ลำ และในปี 2521 ได้ออกจากคณะอุบลพัฒนา มาตั้งคณะเป็นของตัวเอง ชื่อคณะเมืองดอกบัว แต่ไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร เนื่องจากต้องลงทุนมาก และดูแลลูกน้องเกือบ 200 กว่าชีวิต ในปี 2524 จึงตัดสินใจยุบคณะ และไปรวมกับคณะหมอลำเรื่องต่อกลอน คณะเพชรอุบล ของ ป.ฉลาดน้อย ส่งเสริม ทำให้เป็นมีชื่อเสียง และเป็นคู่ขวัญกันจนเรียกได้ว่าถ้าผิดจากคู่นี้ ไปคู่กับคนอื่นๆ ก็จะได้รับการต้อนรับที่น้อยมาก ระหว่างนั้นก็มีการออกอัลบั้มกับค่ายเพลงต่างๆ หลายๆ ค่าย ในสไตล์ลูกทุ่ง-หมอลำ ลำเพลิน ลำเต้ย ลำล่อง หรือการแสดงลำเรื่องต่อกลอนต่างๆ เรื่อยมา และผลงานเพลงสร้างชื่อให้กับอังคนางค์ คุณไชย มีอยู่หลายบทเพลง เช่น เพลงบ่าวภูไท , อีสานลำเพลิน , เสียงพิณบาดใจ , มีบ้างไหมรักจริง ฯลฯ ตลอดระยะเวลากว่า 30 ปี ที่ทำงานมา อังคนางค์ คุณไชย ได้ตั้งปณิธานว่าจะอุทิศชีวิตเพื่อสร้างสรรค์ผลงานการแสดงศิลปะพื้นบ้านลูกทุ่งหมอลำ ให้ไว้เป็นมรดก ทางวัฒนธรรมการแสดงพื้นบ้านให้กับประชาชน และอนุชนรุ่นหลังสืบไปโดยมีโครงการจะเปิดเป็นโรงเรียนสอนการแสดงหมอลำพื้นบ้าน สำหรับ เยาวชนรุ่นลูก รุ่นหลาน ที่มีใจรักในการแสดง และการร้องหมอลำในจังหวัดที่ตนเองอยู่
และได้แสดงเป็นนางเอกเรื่องแรก คือลำเรื่องต่อกลอนเรื่อง นางนกกระยางขาว ซึ่งได้รับการตอบรับจากแฟนหมอลำ ทางภาคอีสานและภาคอื่นเป็นอย่างมาก จนมีผลงานออกมาต่อเนื่องเรื่อยมา จนในปี 2517 จุดเปลี่ยนของอังคนางค์ คุณไชย น่าจะอยู่ที่อัลบั้มเพลง สาวอุบลรอรัก และเพลง พี่จ๋าหลับตาไว้ ที่ทำให้มีกลุ่มแฟนเพลงขยายออก อย่างกว้างขวาง จนเรียกได้ว่าเป็นเพลงแจ้งเกิดในวงการเพลงลูกทุ่งหมอ ลำ และในปี 2521 ได้ออกจากคณะอุบลพัฒนา มาตั้งคณะเป็นของตัวเอง ชื่อคณะเมืองดอกบัว แต่ไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร เนื่องจากต้องลงทุนมาก และดูแลลูกน้องเกือบ 200 กว่าชีวิต ในปี 2524 จึงตัดสินใจยุบคณะ และไปรวมกับคณะหมอลำเรื่องต่อกลอน คณะเพชรอุบล ของ ป.ฉลาดน้อย ส่งเสริม ทำให้เป็นมีชื่อเสียง และเป็นคู่ขวัญกันจนเรียกได้ว่าถ้าผิดจากคู่นี้ ไปคู่กับคนอื่นๆ ก็จะได้รับการต้อนรับที่น้อยมาก ระหว่างนั้นก็มีการออกอัลบั้มกับค่ายเพลงต่างๆ หลายๆ ค่าย ในสไตล์ลูกทุ่ง-หมอลำ ลำเพลิน ลำเต้ย ลำล่อง หรือการแสดงลำเรื่องต่อกลอนต่างๆ เรื่อยมา และผลงานเพลงสร้างชื่อให้กับอังคนางค์ คุณไชย มีอยู่หลายบทเพลง เช่น เพลงบ่าวภูไท , อีสานลำเพลิน , เสียงพิณบาดใจ , มีบ้างไหมรักจริง ฯลฯ ตลอดระยะเวลากว่า 30 ปี ที่ทำงานมา อังคนางค์ คุณไชย ได้ตั้งปณิธานว่าจะอุทิศชีวิตเพื่อสร้างสรรค์ผลงานการแสดงศิลปะพื้นบ้านลูกทุ่งหมอลำ ให้ไว้เป็นมรดก ทางวัฒนธรรมการแสดงพื้นบ้านให้กับประชาชน และอนุชนรุ่นหลังสืบไปโดยมีโครงการจะเปิดเป็นโรงเรียนสอนการแสดงหมอลำพื้นบ้าน สำหรับ เยาวชนรุ่นลูก รุ่นหลาน ที่มีใจรักในการแสดง และการร้องหมอลำในจังหวัดที่ตนเองอยู่
และได้แสดงเป็นนางเอกเรื่องแรก คือลำเรื่องต่อกลอนเรื่อง นางนกกระยางขาว ซึ่งได้รับการตอบรับจากแฟนหมอลำ ทางภาคอีสานและภาคอื่นเป็นอย่างมาก จนมีผลงานออกมาต่อเนื่องเรื่อยมา จนในปี 2517 จุดเปลี่ยนของอังคนางค์ คุณไชย น่าจะอยู่ที่อัลบั้มเพลง สาวอุบลรอรัก และเพลง พี่จ๋าหลับตาไว้ ที่ทำให้มีกลุ่มแฟนเพลงขยายออก อย่างกว้างขวาง จนเรียกได้ว่าเป็นเพลงแจ้งเกิดในวงการเพลงลูกทุ่งหมอ ลำ และในปี 2521 ได้ออกจากคณะอุบลพัฒนา มาตั้งคณะเป็นของตัวเอง ชื่อคณะเมืองดอกบัว แต่ไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร เนื่องจากต้องลงทุนมาก และดูแลลูกน้องเกือบ 200 กว่าชีวิต ในปี 2524 จึงตัดสินใจยุบคณะ และไปรวมกับคณะหมอลำเรื่องต่อกลอน คณะเพชรอุบล ของ ป.ฉลาดน้อย ส่งเสริม ทำให้เป็นมีชื่อเสียง และเป็นคู่ขวัญกันจนเรียกได้ว่าถ้าผิดจากคู่นี้ ไปคู่กับคนอื่นๆ ก็จะได้รับการต้อนรับที่น้อยมาก ระหว่างนั้นก็มีการออกอัลบั้มกับค่ายเพลงต่างๆ หลายๆ ค่าย ในสไตล์ลูกทุ่ง-หมอลำ ลำเพลิน ลำเต้ย ลำล่อง หรือการแสดงลำเรื่องต่อกลอนต่างๆ เรื่อยมา และผลงานเพลงสร้างชื่อให้กับอังคนางค์ คุณไชย มีอยู่หลายบทเพลง เช่น เพลงบ่าวภูไท , อีสานลำเพลิน , เสียงพิณบาดใจ , มีบ้างไหมรักจริง ฯลฯ ตลอดระยะเวลากว่า 30 ปี ที่ทำงานมา อังคนางค์ คุณไชย ได้ตั้งปณิธานว่าจะอุทิศชีวิตเพื่อสร้างสรรค์ผลงานการแสดงศิลปะพื้นบ้านลูกทุ่งหมอลำ ให้ไว้เป็นมรดก ทางวัฒนธรรมการแสดงพื้นบ้านให้กับประชาชน และอนุชนรุ่นหลังสืบไปโดยมีโครงการจะเปิดเป็นโรงเรียนสอนการแสดงหมอลำพื้นบ้าน สำหรับ เยาวชนรุ่นลูก รุ่นหลาน ที่มีใจรักในการแสดง และการร้องหมอลำในจังหวัดที่ตนเองอยู่
และได้แสดงเป็นนางเอกเรื่องแรก คือลำเรื่องต่อกลอนเรื่อง นางนกกระยางขาว ซึ่งได้รับการตอบรับจากแฟนหมอลำ ทางภาคอีสานและภาคอื่นเป็นอย่างมาก จนมีผลงานออกมาต่อเนื่องเรื่อยมา จนในปี 2517 จุดเปลี่ยนของอังคนางค์ คุณไชย น่าจะอยู่ที่อัลบั้มเพลง สาวอุบลรอรัก และเพลง พี่จ๋าหลับตาไว้ ที่ทำให้มีกลุ่มแฟนเพลงขยายออก อย่างกว้างขวาง จนเรียกได้ว่าเป็นเพลงแจ้งเกิดในวงการเพลงลูกทุ่งหมอ ลำ และในปี 2521 ได้ออกจากคณะอุบลพัฒนา มาตั้งคณะเป็นของตัวเอง ชื่อคณะเมืองดอกบัว แต่ไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร เนื่องจากต้องลงทุนมาก และดูแลลูกน้องเกือบ 200 กว่าชีวิต ในปี 2524 จึงตัดสินใจยุบคณะ และไปรวมกับคณะหมอลำเรื่องต่อกลอน คณะเพชรอุบล ของ ป.ฉลาดน้อย ส่งเสริม ทำให้เป็นมีชื่อเสียง และเป็นคู่ขวัญกันจนเรียกได้ว่าถ้าผิดจากคู่นี้ ไปคู่กับคนอื่นๆ ก็จะได้รับการต้อนรับที่น้อยมาก ระหว่างนั้นก็มีการออกอัลบั้มกับค่ายเพลงต่างๆ หลายๆ ค่าย ในสไตล์ลูกทุ่ง-หมอลำ ลำเพลิน ลำเต้ย ลำล่อง หรือการแสดงลำเรื่องต่อกลอนต่างๆ เรื่อยมา และผลงานเพลงสร้างชื่อให้กับอังคนางค์ คุณไชย มีอยู่หลายบทเพลง เช่น เพลงบ่าวภูไท , อีสานลำเพลิน , เสียงพิณบาดใจ , มีบ้างไหมรักจริง ฯลฯ ตลอดระยะเวลากว่า 30 ปี ที่ทำงานมา อังคนางค์ คุณไชย ได้ตั้งปณิธานว่าจะอุทิศชีวิตเพื่อสร้างสรรค์ผลงานการแสดงศิลปะพื้นบ้านลูกทุ่งหมอลำ ให้ไว้เป็นมรดก ทางวัฒนธรรมการแสดงพื้นบ้านให้กับประชาชน และอนุชนรุ่นหลังสืบไปโดยมีโครงการจะเปิดเป็นโรงเรียนสอนการแสดงหมอลำพื้นบ้าน สำหรับ เยาวชนรุ่นลูก รุ่นหลาน ที่มีใจรักในการแสดง และการร้องหมอลำในจังหวัดที่ตนเองอยู่

วันพุธที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2554

ประวัติศาสตร์ลาวเพลงลาวยุคใหม่

ประวัติศาสตร์ลาว210px-Pha_That_Luang_02

ประวัติศาสตร์ลาวยุคต้น

อาณาจักรล้านช้าง (1896 - 2250)

ยุคแห่งความแตกแยก (2250 - 2436)

* อาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง
* อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์
* อาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์
* สงครามเจ้าอนุวงศ์

อาณาจักรพวน (2250 - 2492)

ลาวยุคอาณานิคมฝรั่งเศส (2436 - 2496)

ขบวนการลาวอิสระ (2488 - 2492)

ราชอาณาจักรลาว (2497 - 2518)

ขบวนการปะเทดลาว

การรุกรานลาวโดยเวียดนามเหนือสงครามกลางเมืองในลาว (2505 - 2518)

สปป. ลาว (2518 - ปัจจุบัน)ความขัดแย้งเรื่องชาวม้งในลาว (ตั้งแต่ 2518)

ดูเพิ่ม


* ลำดับกษัตริย์ลาว* รายนามประธานประเทศลาว* รายนามนายกรัฐมนตรีลาว

เนื้อหา

ประวัติศาสตร์ลาวยุคต้น

ดูบทความหลัก อาณาจักรล้านช้าง

ประวัติศาสตร์ยุคแรกๆ ของลาว เชื่อว่าอยู่ภายใต้การครอบครองของอาณาจักรน่านเจ้ามีตำนานโดยขุนบรม และขุนลอ มีลูกสืบหลานต่อๆ กันมา จนถึงรัชสมัยพระเจ้าฟ้างุ้มผู้รวบรวมอาณาจักรล้านช้างได้เป็นผลสำเร็จในช่วงสมัยพุทธศตวรรษที่ 19 และมีกษัตริย์ปกครองสืบทอดต่อกันมาหลายพระองค์ ที่สำคัญ เช่น

  • พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช พระองค์มีความสัมพันธไมตรีที่แนบแน่นกับกษัตริย์ไทย โดยเฉพาะในรัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
  • พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช รัชสมัยของพระองค์นับเป็นยุคทองของราชอาณาจักรล้านช้าง ภายหลังเมื่อพระองค์สวรรคตแล้ว เชื้อพระวงศ์ลาวต่างก็แก่งแย่งราชสมบัติกัน จนอาณาจักรล้านช้างแตกแยกเป็น 3 ส่วนคือ อาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์และอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ ต่างเป็นอิสระไม่ขึ้นแก่กัน และเพื่อชิงความเป็นใหญ่ต่างก็ขอสวามิภักดิ์ต่อเมืองเพื่อนบ้านเช่นไทย พม่า เพื่อขอกำลังมาสยบอาณาจักรลาวด้วยกัน ในลักษณะนี้ในที่สุดอาณาจักรลาวทั้ง 3 แห่งนี้จะตกเป็นเมืองขึ้นของอาณาจักรสยามในปี พ.ศ. 2321

 

220px-Vientiane-pha_that_luang

พระบรมราชานุสาวรีย์พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช หน้าพระธาตุหลวง นครหลวงเวียงจันทน์

ความแตกแยกในอาณาจักรล้านช้าง

 ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียไทยได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนนี้

สงครามเจ้าอนุวงศ์

ดูบทความหลัก สงครามเจ้าอนุวงศ์

พ.ศ. 2369 อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์มีพระเจ้าอนุวงศ์เป็นกษัตริย์ ได้รับราชการกับพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยแห่งกรุงสยามมีความชอบมาก จึงประทานเมืองจำปาสักให้เจ้าราชบุตรโย้ ราชโอรสของเจ้าอนุวงศ์ปกครอง ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จสวรรคต พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลต่อมา เจ้าอนุวงศ์เห็นว่าเป็นช่วงเปลี่ยนแผ่นดินจึงคิดแยกตัวเป็นอิสระไม่ขึ้นกับไทยอีกต่อไป จึงระดมกำลังรวมกับเจ้าราชบุตรโย้ซึ่งครองจำปาสักยกทัพมาตีสยามทางด้านภาคอีสานของไทยในปัจจุบัน พร้อมทั้งแสวงหาพันธมิตรจากหลวงพระบางและหัวเมืองล้านนาแต่ก็ไม่ได้รับการตอบสนอง เนื่องจากหัวเมืองดังกล่าวฝักใฝ่กับฝ่ายไทยมากกว่า เมื่อกองทัพของเจ้าอนุวงศ์ยกทัพมาถึงเมืองนครราชสีมาเห็นจะทำการไม่สำเร็จจึงตัดสินใจเผาเมืองนครราชสีมาทิ้งและกวาดต้อนเชลยตามรายทางกลับไปเวียงจันทน์ ระหว่างทางเชลยที่ถูกกวาดต้อนก็ได้ลุกขึ้นต่อสู้กองทัพลาวที่ทุ่งสำริดจนเสียกำลังทหารลาวส่วนหนึ่งด้วย ด้านฝ่ายไทยซึ่งทราบข่าวค่อนข้างช้าก็ได้ส่งกองทัพภายใต้การนำของกรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพย์และเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ขึ้นมาปราบปราม กองทัพเจ้าอนุวงศ์สู้ไม่ได้จึงแตกพ่าย ตัวเจ้าอนุวงศ์และราชวงศ์เชื้อสายก็ต้องหนีภัยไปพึ่งจักรวรรดิเวียดนาม ฝ่ายสยามจึงยึดกรุงเวียงจันทน์ไว้โดยยังมิได้ทำลายเมืองลงแต่อย่างใด เป็นแต่แต่งกองทหารจำนวนหนึ่งรักษาเมืองไว้เท่านั้น

ในปี พ.ศ. 2371 เจ้าอนุวงศ์ได้กลับมายังกรุงเวียงจันทน์โดยมากับขบวนราชทูตเวียดนามพามาเพื่อขอสวามิภักดิ์สยามอีกครั้ง แต่พอสบโอกาสเจ้าอนุวงศ์จึงนำทหารของตนฆ่าทหารไทยที่รักษาเมืองจนเกือบทั้งหมดและยึดกรุงเวียงจันทน์คืน กองทัพสยามจึงถอนกำลังเพื่อรวบรวมกำลังพลและยกทัพมาปราบปรามเจ้าอนุวงศ์อีกครั้ง ฝ่ายเจ้าอนุวงศ์เมื่อสู้กองทัพไทยไม่ได้จึงไปหลบภัยที่เมืองพวน (แขวงเชียงขวางในปัจจุบัน) แต่เจ้าน้อยเมืองพวนกลับจับตัวเจ้าอนุวงศ์และพระราชวงศ์ที่เหลืออยู่ส่งลงมากรุงเทพ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระพิโรธเจ้าอนุวงศ์มากจึงทรงให้คุมขังเจ้าอนุวงศ์ประจานกลางพระนครจนสิ้นพระชนม์ ส่วนกรุงเวียงจันทน์ก็ทรงมีพระบรมราชโองการให้ทำลายจนไม่เหลือสภาพความเป็นเมือง และตั้งศูนย์กลางการปกครองฝ่ายไทยเพื่อดูแลอาณาเขตของอาณาจักรเวียงจันทน์ที่เมืองหนองคายแทน เมืองเวียงจันทน์ที่ถูกทำลายลงในครั้งนั้นมีเพียงแค่หอพระแก้วและวัดสีสะเกดเท่านั้นที่ยังคงสภาพสมบูรณ์มาจนถึงปัจจุบัน

สงครามเจ้าอนุวงศ์ที่เกิดขึ้นในเวลานั้น ต่อมาได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของความขัดแย้งระหว่างราชอาณาจักรสยามและจักรวรรดิเวียดนาม จนกระทั่งเกิดสงครามที่เรียกว่า "อานามสยามยุทธ" เป็นระยะเวลาถึง 14 ปี เพราะทั้งสองอาณาจักรล้วนต้องการขยายอิทธิพลของตนเข้าไปในดินแดนลาวและเขมร ทั้งสงครามนี้ยังเป็นประวัติศาสตร์บาดแผลระหว่างไทยกับลาวสืบเนื่องต่อมาจนถึงปัจจุบัน

[ ลาวยุคอาณานิคมฝรั่งเศส

 ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียไทยได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนนี้

[แก้] การขยายอำนาจของฝรั่งเศสสู่ลุ่มแม่น้ำโขง

ดูเพิ่มที่ อินโดจีนฝรั่งเศส

 

Thailand

แผนที่การเสียดินแดนของไทยให้แก่ชาติตะวันตก พื้นที่สีฟ้าแสดงดินแดนลาวส่วนที่ไทยยกให้ฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2436 (ค.ศ. 1893) พื้นที่สีฟ้าหม่นแสดงดินแดนลาวส่วนที่ไทยยกให้ฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2447 (ค.ศ. 1904)

ครั้นถึงช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 24 ต่อช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 25 ประเทศฝรั่งเศสเริ่มให้ให้ความสนใจที่จะขยายอำนาจเข้ามาสู่ดินแดนในแถบลุ่มแม่น้ำโขง เพื่อหาทางเข้าถึงดินแดนตอนใต้ของจีนเพื่อเปิดตลาดการค้าแห่งใหม่แข่งกับอังกฤษ ซึ่งสามารถยึดพม่าได้ก่อนหน้านั้นแล้ว โดยฝรั่งเศสเริ่มจากการยึดครองแคว้นโคชินจีนหรือเวียดนามใต้ก่อนในปี พ.ศ. 2402 รุกคืบเข้ามาสู่ดินแดนเขมรส่วนนอกซึ่งไทยปกครองในฐานะประเทศราชในปี พ.ศ. 2406 (ไทยตกลงยอมสละอำนาจเหนือเขมรส่วนนอกอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2410) จากนั้นจึงได้ขยายดินแดนในเวียดนามต่อจนกระทั่งสามารถยึดเวียดนามได้ทั้งประเทศในปี พ.ศ. 2426 พรมแดนของสยามทางด้านประเทศราชลาวจึงประชิดกับดินแดนอาณานิคมของฝรั่งเศสอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

ในระยะเวลาเดียวกัน ในประเทศจีนได้เกิดเหตุการณ์กบฏไท่ผิงต่อต้านราชวงศ์ชิง กองกำลังกบฏชาวจีนฮ่อที่แตกพ่ายได้ถอยร่นมาตั้งกำลังซ่องสุมผู้คนอยู่ในแถบมณฑลยูนนานของจีน ดินแดนสิบสองจุไทย และตามแนวชายแดนประเทศราชลาวตอนเหนือ กองกำลังจีนฮ่อได้ทำการปล้นสะดมราษฏรตามแนวพื้นที่ดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง สร้างปัญหาต่อการปกครองของทั้งฝ่ายไทยและฝรั่งเศสอย่างยิ่ง เพราะส่งกำลังไปปราบปรามหลายครั้งก็ยังไม่สงบ เฉพาะกับอาณาจักรหลวงพระบางนั้น ทางกรุงเทพถึงกับต้องปลดพระเจ้ามหินทรเทพนิภาธร เจ้าผู้ครองนครหลวงพระบางออกจากตำแหน่ง เนื่องจากไม่สามารถรักษาเมืองและปล่อยให้กองทัพฮ่อเข้าปล้นสะดมและเผาเมืองหลวงพระบางลง และตั้งเจ้าคำสุกขึ้นเป็นพระเจ้าสักรินทรฤทธิ์ปกครองดินแดนแทน

ไทย (หรือสยามในเวลานั้น)จึงร่วมกับฝรั่งเศสปราบฮ่อจนสำเร็จ โดยทั้งสองฝ่ายไล่ตีกองกำลังจีนฮ่อจากอาณาเขตของแต่ละฝ่ายให้มาบรรจบกันที่เมืองแถง (เดียนเบียนฟูในปัจจุบัน) แต่ก็เกิดปัญหาใหม่ คือ ฝ่ายฝรั่งเศสฉวยโอกาสอ้างสิทธิปกครองเมืองแถงและสิบสองจุไทย โดยไม่ยอมถอนกำลังทหารออกจากเมืองแถงเพราะอ้างว่าเมืองนี้เคยส่งส่วยให้เวียดนามมาก่อน ปัญหาดังกล่าวนี้มีที่มาจากภาวะการเป็นเมืองสองฝ่ายฟ้าของเมืองปลายแดน ซึ่งจะส่งส่วยให้แก่รัฐใหญ่ทุกรัฐที่มีอิทธิพลของตนเองเพื่อความอยู่รอด

พระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต) แม่ทัพฝ่ายไทย เห็นว่าถ้าตกลงกับฝรั่งเศสไม่ได้จะทำให้ปัญหาโจรฮ่อบานปลายแก้ยาก จึงตัดสินใจทำสัญญากับฝรั่งเศสในวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2431 ให้ฝ่ายไทยตั้งกำลังทหารที่เมืองพวน (เชียงขวาง) ฝรั่งเศสตั้งกำลังทหารที่สิบสองจุไทย ส่วนเมืองแถงเป็นเขตกลางให้มีทหารของทั้งสองฝ่ายดูแลจนกว่ารัฐบาลทั้งสองชาติจะเจรจาเรื่องปักปันเขตแดนได้ ผลจากสนธิสัญญานี้แม้จะทำให้ฝ่ายไทยร่วมมือปราบฮ่อกับฝรั่งเศสจนสำเร็จ และสามารถยุติความขัดแย้งเรื่องแคว้นสิบสองจุไทย เมืองพวน และหัวพันทั้งห้าทั้งหกยุติลงไปชั่วคราว แต่ก็ต้องเสียดินแดนสิบสองจุไทยโดยปริยายไป

วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 และการสูญเสียอำนาจอธิปไตยเหนือลาวของไทย

 ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียไทยได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนนี้

ดินแดนลาวทั้งหมดก็เปลี่ยนไปตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของ ประเทศฝรั่งเศส จากการใช่เล่ห์เหลี่ยมของโอกุสต์ ปาวี กงสุลฝรั่งเศส โดยการใช้เรือรบมาปิดอ่าวไทยเพื่อบังคับให้ยกดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง รวมทั้งดินแดนอื่น ๆ ลาวถูกรวมเข้าเป็นอินโดจีนของฝรั่งเศส เมื่อ พ.ศ. 2436

ขบวนการลาวอิสระ และเส้นทางสู่เอกราชของลาว

 ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียไทยได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนนี้

ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 กองทัพญี่ปุ่นได้รุกเข้ามาในลาวและดินแดนอินโดจีนฝรั่งเศสอื่นๆ เมื่อญี่ปุ่นใกล้แพ้สงคราม ขบวนการลาวอิสระซึ่งเคลื่อนไหวทางการเมืองเพื่อกู้เอกราชลาวในเวลานั้นประกาศเอกราชให้ประเทศลาวเป็นประเทศ ราชอาณาจักรลาว หลังญี่ปุ่นแพ้สงคราม ฝรั่งเศสก็กลับเข้ามามีอำนาจในอินโดจีนอีกครั้งหนึ่ง แต่เนื่องจากการที่เวียดมินห์ปลดปล่อยเวียดนามได้ จึงเป็นการสั่นคลอนอำนาจฝรั่งเศสจนยอมให้ลาวประกาศเอกราชบางส่วนในปี พ.ศ. 2492 และได้เอกราชสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2496 ภายหลังฝรั่งเศสรบแพ้เวียดนามที่เดียนเบียนฟู ผู้ที่มีบทบาทในการประกาศเอกราชคือ เจ้าสุวรรณภูมา เจ้าเพชรราช และ เจ้าสุภานุวงศ์ โดยมีเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวงศ์ ดำรงตำแหน่งเป็นเจ้ามหาชีวิต (พระมหากษัตริย์) จากอาณาจักรล้านช้างหลวงพระบางเดิม และได้รวมทั้ง 3 อาณาจักรคือ ล้านช้างหลวงพระบาง ล้านช้างเวียงจันทน์ และ ล้านช้างจำปาศักดิ์ เข้าด้วยกันเป็นราชอาณาจักรลาว

ยุคพระราชอาณาจักรลาวและสงครามกลางเมือง

ดูบทความหลัก พระราชอาณาจักรลาว

พ.ศ. 2502 เจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวงศ์เสด็จสวรรคต เจ้าสว่างวัฒนาจึงขึ้นครองราชย์เป็นเจ้ามหาชีวิตแทน เหตุการณ์ในลาวยุ่งยากมาก เจ้าสุภานุวงศ์ 1 ในคณะลาวอิสระประกาศตนว่าเป็นพวกฝ่ายซ้ายนิยมคอมมิวนิสต์ และเป็นหัวหน้าขบวนการปะเทศลาว ได้ออกไปเคลื่อนไหวทางการเมืองในป่า เนื่องจากถูกฝ่ายขวาในลาวคุกคามอย่างหนัก ถึงปี 2504 ร้อยเอกกองแลทำการรัฐประหาร รัฐบาลเจ้าสุวรรณภูมา แต่ถูกกองทัพฝ่ายขวาและฝ่ายซ้ายรุมจนพ่ายแพ้ กองแลต้องลี้ภัยไปสหรัฐจนถึงปัจจุบัน

เหตุการณ์ทางการเมืองในระยะเวลาไม่นานหลังจากนั้นบังคับให้ลาวต้องตกอยู่ท่ามกลางสงครามอินโดจีนครั้งที่สอง ซึ่งรุนแรงยิ่งกว่าครั้งแรก และเป็นปัจจัยก่อให้เกิดสงครามกลางเมืองและรัฐประหารหลายครั้งด้วยกัน จนถึงปี พ.ศ. 2518 พรรคประชาชนปฏิวัติลาวซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสหภาพโซเวียต และคอมมิวนิสต์เวียดนามโดยการนำของ เจ้าสุภานุวงศ์ ก็ล้มล้างรัฐบาลประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขของเจ้ามหาชีวิตสว่างวัฒนา ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลฝรั่งเศสและสหรัฐอเมริกาสำเร็จ จึงนำเจ้ามหาชีวิตและมเหสีไปคุมขังในค่ายกักกันจนสิ้นพระชนม์ และสถาปนาประเทศลาวเป็น "สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว" ในวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2518

สมัยสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

สภาพการปกครอง และการบริหารด้านเศรษฐกิจของลาวเริ่มผ่อนคลายมากขึ้นในระยะหลังของทศวรรษ 1980 ต่อมาเมื่อเจ้าสุภานุวงศ์สละตำแหน่งจากประธาน ผู้ดำรงตำแหน่งประธานประเทศต่อจากเจ้าสุภานุวงศ์คือ ท่านไกสอน พมวิหาน และเมื่อท่านไกสอนถึงแก่กรรมกระทันหัน ท่าน หนูฮัก พูมสะหวัน ก็ได้ดำรงตำแหน่งประธานประเทศต่อมา ยุคนี้ลาวกับไทยเปิดสะพานมิตรภาพ ไทย - ลาว ในปี พ.ศ. 2538 ต่อมาท่านหนูฮักสละตำแหน่ง ท่านคำไต สีพันดอนรับดำรงตำแหน่งประธานประเทศต่อ จนถึงปี พ.ศ. 2549 ท่านคำไตลงจากตำแหน่ง ท่านจูมมะลี ไซยะสอน จึงเป็นผู้รับตำแหน่งประธานประเทศลาวคนปัจจุบัน

ดูเพิ่ม

* ลำดับกษัตริย์ลาว* รายนามประธานประเทศลาว* รายนามนายกรัฐมนตรีลาว

เนื้อหา

ประวัติศาสตร์ลาวยุคต้น

ดูบทความหลัก อาณาจักรล้านช้าง

ประวัติศาสตร์ยุคแรกๆ ของลาว เชื่อว่าอยู่ภายใต้การครอบครองของอาณาจักรน่านเจ้ามีตำนานโดยขุนบรม และขุนลอ มีลูกสืบหลานต่อๆ กันมา จนถึงรัชสมัยพระเจ้าฟ้างุ้มผู้รวบรวมอาณาจักรล้านช้างได้เป็นผลสำเร็จในช่วงสมัยพุทธศตวรรษที่ 19 และมีกษัตริย์ปกครองสืบทอดต่อกันมาหลายพระองค์ ที่สำคัญ เช่น

  • พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช พระองค์มีความสัมพันธไมตรีที่แนบแน่นกับกษัตริย์ไทย โดยเฉพาะในรัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
  • พระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช รัชสมัยของพระองค์นับเป็นยุคทองของราชอาณาจักรล้านช้าง ภายหลังเมื่อพระองค์สวรรคตแล้ว เชื้อพระวงศ์ลาวต่างก็แก่งแย่งราชสมบัติกัน จนอาณาจักรล้านช้างแตกแยกเป็น 3 ส่วนคือ อาณาจักรล้านช้างหลวงพระบาง อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์และอาณาจักรล้านช้างจำปาศักดิ์ ต่างเป็นอิสระไม่ขึ้นแก่กัน และเพื่อชิงความเป็นใหญ่ต่างก็ขอสวามิภักดิ์ต่อเมืองเพื่อนบ้านเช่นไทย พม่า เพื่อขอกำลังมาสยบอาณาจักรลาวด้วยกัน ในลักษณะนี้ในที่สุดอาณาจักรลาวทั้ง 3 แห่งนี้จะตกเป็นเมืองขึ้นของอาณาจักรสยามในปี พ.ศ. 2321

 

220px-Vientiane-pha_that_luang

พระบรมราชานุสาวรีย์พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช หน้าพระธาตุหลวง นครหลวงเวียงจันทน์

ความแตกแยกในอาณาจักรล้านช้าง

 ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียไทยได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนนี้

สงครามเจ้าอนุวงศ์

ดูบทความหลัก สงครามเจ้าอนุวงศ์

พ.ศ. 2369 อาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์มีพระเจ้าอนุวงศ์เป็นกษัตริย์ ได้รับราชการกับพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยแห่งกรุงสยามมีความชอบมาก จึงประทานเมืองจำปาสักให้เจ้าราชบุตรโย้ ราชโอรสของเจ้าอนุวงศ์ปกครอง ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จสวรรคต พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลต่อมา เจ้าอนุวงศ์เห็นว่าเป็นช่วงเปลี่ยนแผ่นดินจึงคิดแยกตัวเป็นอิสระไม่ขึ้นกับไทยอีกต่อไป จึงระดมกำลังรวมกับเจ้าราชบุตรโย้ซึ่งครองจำปาสักยกทัพมาตีสยามทางด้านภาคอีสานของไทยในปัจจุบัน พร้อมทั้งแสวงหาพันธมิตรจากหลวงพระบางและหัวเมืองล้านนาแต่ก็ไม่ได้รับการตอบสนอง เนื่องจากหัวเมืองดังกล่าวฝักใฝ่กับฝ่ายไทยมากกว่า เมื่อกองทัพของเจ้าอนุวงศ์ยกทัพมาถึงเมืองนครราชสีมาเห็นจะทำการไม่สำเร็จจึงตัดสินใจเผาเมืองนครราชสีมาทิ้งและกวาดต้อนเชลยตามรายทางกลับไปเวียงจันทน์ ระหว่างทางเชลยที่ถูกกวาดต้อนก็ได้ลุกขึ้นต่อสู้กองทัพลาวที่ทุ่งสำริดจนเสียกำลังทหารลาวส่วนหนึ่งด้วย ด้านฝ่ายไทยซึ่งทราบข่าวค่อนข้างช้าก็ได้ส่งกองทัพภายใต้การนำของกรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพย์และเจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ขึ้นมาปราบปราม กองทัพเจ้าอนุวงศ์สู้ไม่ได้จึงแตกพ่าย ตัวเจ้าอนุวงศ์และราชวงศ์เชื้อสายก็ต้องหนีภัยไปพึ่งจักรวรรดิเวียดนาม ฝ่ายสยามจึงยึดกรุงเวียงจันทน์ไว้โดยยังมิได้ทำลายเมืองลงแต่อย่างใด เป็นแต่แต่งกองทหารจำนวนหนึ่งรักษาเมืองไว้เท่านั้น

ในปี พ.ศ. 2371 เจ้าอนุวงศ์ได้กลับมายังกรุงเวียงจันทน์โดยมากับขบวนราชทูตเวียดนามพามาเพื่อขอสวามิภักดิ์สยามอีกครั้ง แต่พอสบโอกาสเจ้าอนุวงศ์จึงนำทหารของตนฆ่าทหารไทยที่รักษาเมืองจนเกือบทั้งหมดและยึดกรุงเวียงจันทน์คืน กองทัพสยามจึงถอนกำลังเพื่อรวบรวมกำลังพลและยกทัพมาปราบปรามเจ้าอนุวงศ์อีกครั้ง ฝ่ายเจ้าอนุวงศ์เมื่อสู้กองทัพไทยไม่ได้จึงไปหลบภัยที่เมืองพวน (แขวงเชียงขวางในปัจจุบัน) แต่เจ้าน้อยเมืองพวนกลับจับตัวเจ้าอนุวงศ์และพระราชวงศ์ที่เหลืออยู่ส่งลงมากรุงเทพ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระพิโรธเจ้าอนุวงศ์มากจึงทรงให้คุมขังเจ้าอนุวงศ์ประจานกลางพระนครจนสิ้นพระชนม์ ส่วนกรุงเวียงจันทน์ก็ทรงมีพระบรมราชโองการให้ทำลายจนไม่เหลือสภาพความเป็นเมือง และตั้งศูนย์กลางการปกครองฝ่ายไทยเพื่อดูแลอาณาเขตของอาณาจักรเวียงจันทน์ที่เมืองหนองคายแทน เมืองเวียงจันทน์ที่ถูกทำลายลงในครั้งนั้นมีเพียงแค่หอพระแก้วและวัดสีสะเกดเท่านั้นที่ยังคงสภาพสมบูรณ์มาจนถึงปัจจุบัน

สงครามเจ้าอนุวงศ์ที่เกิดขึ้นในเวลานั้น ต่อมาได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของความขัดแย้งระหว่างราชอาณาจักรสยามและจักรวรรดิเวียดนาม จนกระทั่งเกิดสงครามที่เรียกว่า "อานามสยามยุทธ" เป็นระยะเวลาถึง 14 ปี เพราะทั้งสองอาณาจักรล้วนต้องการขยายอิทธิพลของตนเข้าไปในดินแดนลาวและเขมร ทั้งสงครามนี้ยังเป็นประวัติศาสตร์บาดแผลระหว่างไทยกับลาวสืบเนื่องต่อมาจนถึงปัจจุบัน

[ ลาวยุคอาณานิคมฝรั่งเศส

 ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียไทยได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนนี้

[แก้] การขยายอำนาจของฝรั่งเศสสู่ลุ่มแม่น้ำโขง

ดูเพิ่มที่ อินโดจีนฝรั่งเศส

 

Thailand

แผนที่การเสียดินแดนของไทยให้แก่ชาติตะวันตก พื้นที่สีฟ้าแสดงดินแดนลาวส่วนที่ไทยยกให้ฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2436 (ค.ศ. 1893) พื้นที่สีฟ้าหม่นแสดงดินแดนลาวส่วนที่ไทยยกให้ฝรั่งเศสในปี พ.ศ. 2447 (ค.ศ. 1904)

ครั้นถึงช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 24 ต่อช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 25 ประเทศฝรั่งเศสเริ่มให้ให้ความสนใจที่จะขยายอำนาจเข้ามาสู่ดินแดนในแถบลุ่มแม่น้ำโขง เพื่อหาทางเข้าถึงดินแดนตอนใต้ของจีนเพื่อเปิดตลาดการค้าแห่งใหม่แข่งกับอังกฤษ ซึ่งสามารถยึดพม่าได้ก่อนหน้านั้นแล้ว โดยฝรั่งเศสเริ่มจากการยึดครองแคว้นโคชินจีนหรือเวียดนามใต้ก่อนในปี พ.ศ. 2402 รุกคืบเข้ามาสู่ดินแดนเขมรส่วนนอกซึ่งไทยปกครองในฐานะประเทศราชในปี พ.ศ. 2406 (ไทยตกลงยอมสละอำนาจเหนือเขมรส่วนนอกอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2410) จากนั้นจึงได้ขยายดินแดนในเวียดนามต่อจนกระทั่งสามารถยึดเวียดนามได้ทั้งประเทศในปี พ.ศ. 2426 พรมแดนของสยามทางด้านประเทศราชลาวจึงประชิดกับดินแดนอาณานิคมของฝรั่งเศสอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

ในระยะเวลาเดียวกัน ในประเทศจีนได้เกิดเหตุการณ์กบฏไท่ผิงต่อต้านราชวงศ์ชิง กองกำลังกบฏชาวจีนฮ่อที่แตกพ่ายได้ถอยร่นมาตั้งกำลังซ่องสุมผู้คนอยู่ในแถบมณฑลยูนนานของจีน ดินแดนสิบสองจุไทย และตามแนวชายแดนประเทศราชลาวตอนเหนือ กองกำลังจีนฮ่อได้ทำการปล้นสะดมราษฏรตามแนวพื้นที่ดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง สร้างปัญหาต่อการปกครองของทั้งฝ่ายไทยและฝรั่งเศสอย่างยิ่ง เพราะส่งกำลังไปปราบปรามหลายครั้งก็ยังไม่สงบ เฉพาะกับอาณาจักรหลวงพระบางนั้น ทางกรุงเทพถึงกับต้องปลดพระเจ้ามหินทรเทพนิภาธร เจ้าผู้ครองนครหลวงพระบางออกจากตำแหน่ง เนื่องจากไม่สามารถรักษาเมืองและปล่อยให้กองทัพฮ่อเข้าปล้นสะดมและเผาเมืองหลวงพระบางลง และตั้งเจ้าคำสุกขึ้นเป็นพระเจ้าสักรินทรฤทธิ์ปกครองดินแดนแทน

ไทย (หรือสยามในเวลานั้น)จึงร่วมกับฝรั่งเศสปราบฮ่อจนสำเร็จ โดยทั้งสองฝ่ายไล่ตีกองกำลังจีนฮ่อจากอาณาเขตของแต่ละฝ่ายให้มาบรรจบกันที่เมืองแถง (เดียนเบียนฟูในปัจจุบัน) แต่ก็เกิดปัญหาใหม่ คือ ฝ่ายฝรั่งเศสฉวยโอกาสอ้างสิทธิปกครองเมืองแถงและสิบสองจุไทย โดยไม่ยอมถอนกำลังทหารออกจากเมืองแถงเพราะอ้างว่าเมืองนี้เคยส่งส่วยให้เวียดนามมาก่อน ปัญหาดังกล่าวนี้มีที่มาจากภาวะการเป็นเมืองสองฝ่ายฟ้าของเมืองปลายแดน ซึ่งจะส่งส่วยให้แก่รัฐใหญ่ทุกรัฐที่มีอิทธิพลของตนเองเพื่อความอยู่รอด

พระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต) แม่ทัพฝ่ายไทย เห็นว่าถ้าตกลงกับฝรั่งเศสไม่ได้จะทำให้ปัญหาโจรฮ่อบานปลายแก้ยาก จึงตัดสินใจทำสัญญากับฝรั่งเศสในวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2431 ให้ฝ่ายไทยตั้งกำลังทหารที่เมืองพวน (เชียงขวาง) ฝรั่งเศสตั้งกำลังทหารที่สิบสองจุไทย ส่วนเมืองแถงเป็นเขตกลางให้มีทหารของทั้งสองฝ่ายดูแลจนกว่ารัฐบาลทั้งสองชาติจะเจรจาเรื่องปักปันเขตแดนได้ ผลจากสนธิสัญญานี้แม้จะทำให้ฝ่ายไทยร่วมมือปราบฮ่อกับฝรั่งเศสจนสำเร็จ และสามารถยุติความขัดแย้งเรื่องแคว้นสิบสองจุไทย เมืองพวน และหัวพันทั้งห้าทั้งหกยุติลงไปชั่วคราว แต่ก็ต้องเสียดินแดนสิบสองจุไทยโดยปริยายไป

วิกฤตการณ์ ร.ศ. 112 และการสูญเสียอำนาจอธิปไตยเหนือลาวของไทย

 ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียไทยได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนนี้

ดินแดนลาวทั้งหมดก็เปลี่ยนไปตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของ ประเทศฝรั่งเศส จากการใช่เล่ห์เหลี่ยมของโอกุสต์ ปาวี กงสุลฝรั่งเศส โดยการใช้เรือรบมาปิดอ่าวไทยเพื่อบังคับให้ยกดินแดนฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง รวมทั้งดินแดนอื่น ๆ ลาวถูกรวมเข้าเป็นอินโดจีนของฝรั่งเศส เมื่อ พ.ศ. 2436

ขบวนการลาวอิสระ และเส้นทางสู่เอกราชของลาว

 ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียไทยได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูลในส่วนนี้

ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 กองทัพญี่ปุ่นได้รุกเข้ามาในลาวและดินแดนอินโดจีนฝรั่งเศสอื่นๆ เมื่อญี่ปุ่นใกล้แพ้สงคราม ขบวนการลาวอิสระซึ่งเคลื่อนไหวทางการเมืองเพื่อกู้เอกราชลาวในเวลานั้นประกาศเอกราชให้ประเทศลาวเป็นประเทศ ราชอาณาจักรลาว หลังญี่ปุ่นแพ้สงคราม ฝรั่งเศสก็กลับเข้ามามีอำนาจในอินโดจีนอีกครั้งหนึ่ง แต่เนื่องจากการที่เวียดมินห์ปลดปล่อยเวียดนามได้ จึงเป็นการสั่นคลอนอำนาจฝรั่งเศสจนยอมให้ลาวประกาศเอกราชบางส่วนในปี พ.ศ. 2492 และได้เอกราชสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2496 ภายหลังฝรั่งเศสรบแพ้เวียดนามที่เดียนเบียนฟู ผู้ที่มีบทบาทในการประกาศเอกราชคือ เจ้าสุวรรณภูมา เจ้าเพชรราช และ เจ้าสุภานุวงศ์ โดยมีเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวงศ์ ดำรงตำแหน่งเป็นเจ้ามหาชีวิต (พระมหากษัตริย์) จากอาณาจักรล้านช้างหลวงพระบางเดิม และได้รวมทั้ง 3 อาณาจักรคือ ล้านช้างหลวงพระบาง ล้านช้างเวียงจันทน์ และ ล้านช้างจำปาศักดิ์ เข้าด้วยกันเป็นราชอาณาจักรลาว

ยุคพระราชอาณาจักรลาวและสงครามกลางเมือง

ดูบทความหลัก พระราชอาณาจักรลาว

พ.ศ. 2502 เจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวงศ์เสด็จสวรรคต เจ้าสว่างวัฒนาจึงขึ้นครองราชย์เป็นเจ้ามหาชีวิตแทน เหตุการณ์ในลาวยุ่งยากมาก เจ้าสุภานุวงศ์ 1 ในคณะลาวอิสระประกาศตนว่าเป็นพวกฝ่ายซ้ายนิยมคอมมิวนิสต์ และเป็นหัวหน้าขบวนการปะเทศลาว ได้ออกไปเคลื่อนไหวทางการเมืองในป่า เนื่องจากถูกฝ่ายขวาในลาวคุกคามอย่างหนัก ถึงปี 2504 ร้อยเอกกองแลทำการรัฐประหาร รัฐบาลเจ้าสุวรรณภูมา แต่ถูกกองทัพฝ่ายขวาและฝ่ายซ้ายรุมจนพ่ายแพ้ กองแลต้องลี้ภัยไปสหรัฐจนถึงปัจจุบัน

เหตุการณ์ทางการเมืองในระยะเวลาไม่นานหลังจากนั้นบังคับให้ลาวต้องตกอยู่ท่ามกลางสงครามอินโดจีนครั้งที่สอง ซึ่งรุนแรงยิ่งกว่าครั้งแรก และเป็นปัจจัยก่อให้เกิดสงครามกลางเมืองและรัฐประหารหลายครั้งด้วยกัน จนถึงปี พ.ศ. 2518 พรรคประชาชนปฏิวัติลาวซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสหภาพโซเวียต และคอมมิวนิสต์เวียดนามโดยการนำของ เจ้าสุภานุวงศ์ ก็ล้มล้างรัฐบาลประชาธิปไตยโดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขของเจ้ามหาชีวิตสว่างวัฒนา ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลฝรั่งเศสและสหรัฐอเมริกาสำเร็จ จึงนำเจ้ามหาชีวิตและมเหสีไปคุมขังในค่ายกักกันจนสิ้นพระชนม์ และสถาปนาประเทศลาวเป็น "สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว" ในวันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2518

สมัยสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

สภาพการปกครอง และการบริหารด้านเศรษฐกิจของลาวเริ่มผ่อนคลายมากขึ้นในระยะหลังของทศวรรษ 1980 ต่อมาเมื่อเจ้าสุภานุวงศ์สละตำแหน่งจากประธาน ผู้ดำรงตำแหน่งประธานประเทศต่อจากเจ้าสุภานุวงศ์คือ ท่านไกสอน พมวิหาน และเมื่อท่านไกสอนถึงแก่กรรมกระทันหัน ท่าน หนูฮัก พูมสะหวัน ก็ได้ดำรงตำแหน่งประธานประเทศต่อมา ยุคนี้ลาวกับไทยเปิดสะพานมิตรภาพ ไทย - ลาว ในปี พ.ศ. 2538 ต่อมาท่านหนูฮักสละตำแหน่ง ท่านคำไต สีพันดอนรับดำรงตำแหน่งประธานประเทศต่อ จนถึงปี พ.ศ. 2549 ท่านคำไตลงจากตำแหน่ง ท่านจูมมะลี ไซยะสอน จึงเป็นผู้รับตำแหน่งประธานประเทศลาวคนปัจจุบัน

ดูเพิ่ม

 
Design by Wordpress Theme | Bloggerized by Free Blogger Templates | coupon codes